Curriculum Vitae | CV

ผศ.ดร.วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย

ตำแหน่งบริหาร : คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์

ตำแหน่งวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สังกัด : สาขาพยาบาลศาสตร์

ประวัติการศึกษา

  •  ปริญญาเอก

จาก : มหาวิทยาลัยมหิดล
วุฒิที่ได้รับ : สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การพยาบาลสาธารณสุข)

  •  ปริญญาโท

จาก : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
วุฒิที่ได้รับ : สังคมวิทยามหาบัณฑิต (ประชากรศาสตร์)

  •  ปริญญาตรี

จาก : วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์
วุฒิที่ได้รับ : พยาบาลศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2)

ข้อมูลการติดต่อ

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

38 หมู่ 8 ถ.หาดเจ้าสำราญ ต.นาวุ้ง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000

เบอร์ติดต่อ

ที่ทำงาน : 032-708622
เบอร์มือถือ : 081-6944805

อีเมล

catvanida04@yahoo.com

รางวัลและประกาศเกียรติคุณ

  • ศิษย์เก่าดีเด่นคณะสาธารณสุขศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๙ ประเภทนักบริหาร

งานวิจัยที่สนใจ

  • การพยาบาลอนามัยชุมชน
  • การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
  • การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่

 

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2548) กระบวนการพยาบาลเพื่อการประเมินและการดูแลสุขภาพในชุมชนโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. 19(3 กันยายน-ธันวาคม),  72-83. 

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. (2550). การปฏิบัติที่บ่งชี้ความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์และยาเสพติดในชุมชน: กรณีโครงการชุมชนสัมพันธ์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และยาเสพติดแบบยั่งยืน.  วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 21(3 กย.-ธค.), 1-14.

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2550). การพัฒนาเครื่องมือสำหรับประเมินผู้รับบริการที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนภายใต้ทฤษฎีการพยาบาลคิง. วารสารสภาการพยาบาล,  22(3  กรกฎาคม-กันยายน).

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2551). การประยุกต์ทฤษฎีการตั้งเป้าหมายร่วมกันในกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน,  วารสารพยาบาลสาธารณสุข,  22(2 พฤษภาคม-สิงหาคม):  1-16.

หทัยชนก  บัวเจริญ,  วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและจริยาวัตร  คมพยัคฆ์.  (2551).  การศึกษาปัญหาและความต้องการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอาชีพงมหอยแครงวิเคราะห์ตามทฤษฎีการพยาบาลของคิงโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน.  วารสารคณะพยาบาลศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  20(2  พค-สค.), 40-51.

หทัยชนก  บัวเจริญ,  วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ.  (2551).  การส่งเสริมแกนนำสุขภาพครอบครัวเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนโดยทฤษฎีการพยาบาลของคิง,  วารสารคณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 31(4  ตค.-ธค.), 17-25.

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ.  (2551).  การประยุกต์ทฤษฎีการพยาบาลของคิงในกระบวนการพัฒนานวัตกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้ผู้เป็นเบาหวานในชุมชน,  วารสารคณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  31(4  ตค-ธค.), 26-37.

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและหทัยชนก  บัวเจริญ.  (2553).  ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาของผู้เป็นโรคเรื้อรังในชุมชนบนทฤษฎีการพยาบาลของคิง.  วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 3(24 กันยายน-ธันวาคม.

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2554). การพัฒนาระบบเกษตรทางเลือก. วารสาร  มฉก.  วิชาการ,  15(29 กค.-ธค.), 47-66.

๑๐

ภุชงค์  เสนานุชและวนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2555).  การติดตามประเมินผลการถ่ายโอนภารกิจสถาสงเคราะห์คนชราและศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.  วารสาร มฉก.  วิชาการ, 16(31 กค.-ธค.), 1-15.

๑๑

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2556).  ปัจจัยทำนายสมรรถนะการพยาบาลด้วยหัวใจของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  วารสาร  มฉก.วิชาการ,  17(33 กรกฎาคม-ธันวาคม), 99-116.

๑๒

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2556).  รูปแบบการสร้างความตระหนักสมรรถนะแห่งตนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสาร มฉก. วิชาการ,  13(25  มกราคม– มิถุนายน), 19-39. 

๑๓

Vanida  Durongritichai.  (2012).  Knowledge,  attitudes,  self-awareness,  and  factors affecting HIV/AIDS prevention among Thai university  students.  Southeast  Asian  J  Trop  Med  Public  Health,  43(6  November), 1-10.

๑๔

Nopphanath Chumpathat, Ram Rangsin, Supranee Changbumrung, Ngamphol Soonthornworasiri, Vanida Durongritichai, Karunee Kwanbunjan. (2016). Use of knee height for the estimation of body height in Thai adult women. Asia Pac J Clin Nutr. 25(3), 444-451.

๑๕

จริยาวัตร คมพยัคฒ์, กนกพร นทีธนสมบัติ, ทวีศักดิ์ กสิผล, กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, นภาพร แก้วนิมิตชัย, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2558). วิถีชีวิตด้านสุขภาพของชุมชนตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(3 กันยายน-ธันวาคม), 1-13.

๑๖

สุภาพร นันทศักดิ์, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2559). วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. 14(2 พฤษภาคม-สิงหาคม): 77-89.

๑๗

กิษรา มาศโอสถ, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2560). ปัจจัยทำนายการรับรู้สมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๕ “งานวิชาการรับใช้สังคม” มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 577-588.

๑๘

จุฬาวรรณ จิตดอน, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2560). การพัฒนาแนวทางการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคปอดที่รักษาด้วยระบบยาระยะสั้น อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ. 20(40 มกราคม – มิถุนายน), 1-11.

๑๙

กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, หทัยชนก บัวเจริญ. (2560). ผลการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ในรายวิชาการพยาบาลในระบบสุขภาพ. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 42-54.

๒๐

กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, หทัยชนก บัวเจริญ. (2560). ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้รอบด้านรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน : กรณีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสาร มฉก.วิชาการ, 20(40 มกราคม – มิถุนายน), 41-52.

๒๑

วิภาวี ชูแก้ว, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2560). กระบวนการสร้างหุ้นส่วนสุขภาพเพื่อการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ชุมชนพิทักษ์ธรรม ตำบลสำโรงใต้อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ, 20(40 มกราคม – มิถุนายน), 53-65.

๒๒

รัชนี ผิวผ่อง, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, สุภาภรณ์ คงพรม. (2561). การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อชะลอวัย. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26(3 กรกฎาคม – กันยายน).

๒๓

Vanida Durongrittichai, et al. (2018). The comparison of personal, family and working characteristics of disparity aging to health and social welfare accessible. SEGA 07 The 7th International Conference on Sustainable Energy and Green Architecture Smart City and Urban Resiliency, Bangkok, May 21-22.

๒๔

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2561). การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(1 มกราคม – มิถุนายน), 95-119.

๒๕

จริยา ทรัพย์เรือง, พัชรี รัศมีแจ่ม, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2561) ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างศักยภาพการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลทางคลินิก: กรณีศึกษารายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้นต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้นของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(มกราคม – เมษายน),  468-476.

๒๖

โชติกา พลายหนู, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2561). การเสริมพลังอำนาจแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการปรับตัวและลดระดับน้ำตาลในเลือดผู้เป็นเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(1 มกราคม – เมษายน), 137-155.

๒๗

กานดาวสี มาลีวงษ์, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2561). ความรอบรู้สุขภาพของชมรมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”: กรณีศึกษาเขตดอนเมือง. วารสารเกื้อการุณย์, 25(2 กรกฎาคม-ธันวาคม), 119-136.

๒๘

Ratchanee Piwpong, Vanida Durongrittichai, et al. (2018). Systematic review on anti-aging health care. Naresuan University Science and Technology, 3(26), 98-112.

๒๙

กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ.(2562). การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 30(2 กค.-ธค.), 26-36.

๓๐

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและคณะ. (2562). ปัจจัยส่วนบุคคลและความรอบรู้สุขภาพที่ทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพนักศึกษาพยาบาลในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 42(3 กรกฎาคม-กันยายน), 108-117.

หนังสือ / ตำรา

1

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2540). หุ้นส่วนสุขภาพเพื่อการพัฒนาสุขภาพผู้รับบริการโรคหัวใจ-หลอดเลือดและครอบครัวในชุมชน. วารสาร  มฉก.  วิชาการ. ปีที่  9  ฉบับที่  18(มกราคม-มิถุนายน).  หน้า  90-106.  จำนวน  18  หน้า.

2

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. “พยาบาลครอบครัวกับการดูแลต่อเนื่องผู้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ : จากสถานบริการสู่ชุมชน”. การประชุมวิชาการเนื่องในโอกาส  60  ปีการศึกษาวิชาการผดุงครรภ์และการพยาบาลหัวเฉียว กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริการพยาบาลเพื่อการดูแลอย่างต่อเนื่อง  วันที่  19-20  ธันวาคม  2545  ณ  โรงแรมเอเชีย  กรุงเทพมหานคร.  หน้า  75-83

3

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. การประยุกต์ใช้แบบจำลองของแคลการี่  (Calgary)  เพื่อประเมินและดูแลสุขภาพครอบครัว. การประชุมวิชาการเฉลิม  72  พรรษา  พระมิ่งแม่ของแผ่นดิน  เรื่อง  ครอบครัวผาสุก : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลในชุมชน  ระหว่างวันที่  8-9  กรกฎาคม  2547  โรงแรมเอเชีย  กรุงเทพมหานคร.  หน้า  28-38

4

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. กระบวนการพยาบาลเพื่อการดูแลสุขภาพครอบครัวในงานอนามัยชุมชน. บทความวิชาการ  การศึกษาต่อเนื่อง  สาขาพยาบาลศาสตร์  เล่มที่  2  รหัสบทความ  0026-0050  พร้อมแบบทดสอบ  CNEU  50  หน่วยคะแนน. พฤษภาคม 2548. หน้า  90-106.  81-89.  จำนวน  9  หน้า

5

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. จริยธรรมและกฎหมายในการพยาบาลชุมชน. บทความวิชาการ  การศึกษาต่อเนื่อง  สาขาพยาบาลศาสตร์  เล่มที่  9  หน้า  132-142 จำนวน  11  หน้า

6

 

บทความ

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย. (2549). การพยาบาลที่มีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง  :  แนวโน้มและบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัว. วารสาร มฉก.วิชาการ, 9(18):  หน้า : 90-106.

7

ตำรา

 

จริยาวัตร  คมพยัคฆ์และวนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย  (บรรณาธิการ).  (2553).               การพยาบาลอนามัยชุมชน :  แนวคิด  หลักการและการปฏิบัติการพยาบาล.  โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  จำนวน  552  หน้า.

8

ตำรา

 

หทัยชนก  บัวเจริญ,  จริยาวัตร  คมพยัคฆ์,  วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัยและรัชดา               พ่วงประสงค์.  (2553).  การพยาบาลในระบบสุขภาพ.  โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  จำนวน  232  หน้า

9

 

บทความ

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย,  หทัยชนก  บัวเจริญและสุจิตรา  ชัยกิตติศิลป์.  (2553) การจัดการความรู้งานวิจัยและการศึกษาด้วยตนเองด้านการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน.                  การประชุมวิชาการระดับชาติ  มหาวิทยาลัยราชภัฐนครปฐม  ครั้งที่  2  ประจำปี  2553  วันที่  15  มิถุนายน  2553. 

10

 

บทความ

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2554). การพัฒนาระบบเกษตรทางเลือก. วารสาร  มฉก.  วิชาการ,  15(29  กค-ธค),  หน้า  47-66.    

11

ตำรา

 

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2558).  ตำรา  มสธ.  51233001 (89702)   การประเมินภาวะสุขภาพขั้นสูง การรักษาโรคเบื้องต้นและปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 1    หน่วยที่ 7  กลุ่มอาการในระบบทางเดินหายใจและการรักษาโรคเบื้องต้นและหน่วยที่  15 งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  การวางแผนครอบครัว  หลักการให้คำปรึกษาและพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเอง.

12

ตำรา

 

วนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2558).  ตำรา  มสธ.  51232001 (89701) นโยบายและระบบสุขภาพ ภาวะผู้นำ แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาลและบทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ตอนที่ 6 การตัดสินใจและการพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาในงานพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน.

13

ตำรา

 

อุไรพรรณ  เจนวาณิชยานนท์และวนิดา  ดุรงค์ฤทธิชัย.  (2558).  การสร้างทักษะ             การเรียนรู้ในศตวรรษที่  21.  โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  จำนวน  200  หน้า.

14

 

บทความ

Vanida,  D.  &  Jonatan  R. C.  (2015).  Strategies  for  Creating  Highly  Competitive  Graduates to  Welcome  ASEAN Economic  Community  Era: Thai Students Perspective.  International  Conference  Proceedings  “Strategies  for  Creating  Highly  Competitive  Graduate  to  Welcome  ASEAN  Economic  Era.  23rd  October  2015.  Syariah  Hotel  Solo,  Jd. 

Adi  Sucipto  No.47  Solo,  Indonesia.  

15

 

บทความ

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, ณัฐณภัทร วัฒนเดชาสกุล, รัชนี ผิวผ่องและสุวรรณี มงคลรุ่งเรือง. (2559). แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยง หลอดเลือดหัวใจ: จากการสังเคราะห์งานวิจัย สู่การนำไปปฏิบัติ. วารสาร  มฉก.  วิชาการ,  20(39  กค-ธค),  หน้า  143-156.    

16

 

บทความ

วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, เจตจรรยา บุญญกูล, จุฬาวรรณ จิตดอน, เสาวรี เอี่ยมลออ, เอมวดี เกียรติศิริ, ศุภรัสมิ์ วิเชียรตนนท์. สมรรถนะทางคลินิกเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานอย่างมีประสิทธิภาพ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561, 164-173.

 

ทุนวิจัย

ลำดับ

งานวิจัย

แหล่งทุน

ระยะเวลา

ที่ได้รับทุน

การประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลสามปี (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๒)  เทศบาลตำบลสำโรงใต้ 

 

เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย

๒๕๕๐-๒๕๕๙

การติดตามผลการถ่ายโอนภารกิจด้านสวัสดิการสังคม (สถานสงเคราะห์คนชรา) แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการประเมินความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการถ่ายโอนสถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง/คนพิการ

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

๒๕๕๑

การวิจัยแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตครูทั้งระบบ

กระทรวงศึกษาธิการ

๒๕๕๔

การวิจัยชุมชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางสังคม ในกรุงเทพฯ กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ : กรณีชุมชนวัดผ่องพลอยอนุสรณ์  (ลิขิต ๒)

สถาบันบัณฑิต

พัฒนบริหารศาสตร์

๒๕๕๕

การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ด้านสตรีและครอบครัว

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

๒๕๕๙

การจัดทำระบบงานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

๒๕๖๐

การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม

สกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น

๒๕๖๐

การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ระยะ ๒

สกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น

๒๕๖๑

การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครผ่านกระบวนการเสริมสร้างความฉลาดรู้สุขภาพ

สำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

๒๕๖๑

๑๐

การพัฒนานวัตกรรมผู้สูงอายุเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของผู้สูงอายุเขตชนบทในสังคมไทย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)

๒๕๖๒


คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

38 หมู่ 8 ถ.หาดเจ้าสำราญ ต.นาวุ้ง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000
โทร: 032-708622
โทรสาร: 032-708665
อีเมล์: nursepbru@mail.pbru.ac.th
Website : http://nurse.pbru.ac.th/
 

Copyright © 2020 Faculty Of Nursing and Allied Health Science, Phetchaburi Rajabhat University , All rights reserved.
Develop by Digital Technology Center PBRU